2010-03-16โษฑศวรรค คือ การแบ่งราศี ( 30° ) หนึ่งๆ ออกเป็น 16 แบบ
โษฑศวรรค 1-8
โษฑศวรรค 9-14
โษฑศวรรค 15-16
|
โษฑศวรรค คือ การแบ่งราศี ( 30° ) หนึ่งๆ ออกเป็น 16 แบบ ซึ่งทางไทยจะนิยมใช้เพียง 3 แบบ คือ ราศี ( ดาวเกษตร ) , ตรียางค์ , นวางค์ ( ฤกษ์ 108 บาทฤกษ์ ) ซึ่งตามนี้จะแบ่งให้เห็นมากกว่า โดยจะแบ่งเป็น 16 แบบ ( ตามความจริงมีการแบ่งที่มากกว่านี้ แต่จะนำมาแค่พอประมาณ )
โษฑศวรรคนี้จะมีการแบ่งออกเป็น 16 ส่วนดังนี้ (01) ราศี หรือ อุตตมางศะ , (02) โหรา , (03) ตรียางค์ หรือ ทาเรกะณะ) , (04) ปาทางศะ หรือ จตุรฐางศะ , (05) ปัญจมางศะ หรือ ปัญจางศะ , (06) ษัษฏางศะ หรือ ษัฑตางศะ , (07) สัปตางศะ หรือ สัปฏางศะ , (08) อัษตางศะ หรือ อัษฏางศะ , (09) นวางค์ หรือ นวางศะ , (10) ทศางศะ , (11) เอกาทศางศะ , (12) ทวาทศศางศะ , (13) ตฤมศางศะ หรือ ตริมศางศะ , (14) โษทศางศะ , (15) ษัษฏิอางศะ , (16) ฆฑิกางศะ
|
(01) เจ้าราศี หรือ อุตตมางศะ จะให้ดาวเข้าครอบครองเป็นดาวเกษตร ( เจ้าอธิปติ ) และ ควบคุมราศีต่างตลอด 00°-30° ในแต่ละราศี
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
|
(02) โหรา จะแบ่งราศีออกเป็นราศีละ 2 ส่วนๆ ละ 15° แบ่งเป็น 2 วรรคคือ 00°-15° และ 15°-30° โดยจะให้พระอาทิตย์ ( ๑ ) และ พระจันทร์ ( ๒ ) เข้าครอบครองเป็นเจ้าโหราในแต่ละวรรค ตามราศีเพศชาย ( คี่ ) โดยให้ครึ่งแรกของราศีเพศชายปกครองโดยพระอาทิตย์ ส่วนครึ่งหลังปกครองโดยพระจันทร์ และ ราศีเพศหญิง ( คู่ ) โดยให้ครึ่งแรกของราศีเพศหญิงปกครองโดยพระจันทร์ ส่วนครึ่งหลังปกครองโดยพระอาทิตย์
ครึ่ง
|
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
แรก
|
๑
|
๒
|
๑
|
๒
|
๑
|
๒
|
๑
|
๒
|
๑
|
๒
|
๑
|
๒
|
หลัง
|
๒
|
๑
|
๒
|
๑
|
๒
|
๑
|
๒
|
๑
|
๒
|
๑
|
๒
|
๑
|
|
(03) ตรียางค์ หรือ ทาเรกะณะ คือการแบ่งราศีออกเป็น 3 ส่วนๆ ละ 10° โดยเรียก 00°-10° ที่หนึ่งว่า ปฐมตรียางค์ , 10°-20° ที่สองว่า ทุติยตรียางค์ และ 20°-30° ที่สามว่า ตติยตรียางค์ โดยให้ดาวเกษตรในราศีนั้นๆ เป็นเจ้าปฐมตรียางค์ , นับจากราศีแรกไป 5 ราศีให้เจ้าเกษตรราศีที่ 05 นั้นเป็นเจ้าทุติยตรียางค์ และ นับจากราศีแรกไป 9 ราศีให้เจ้าเกษตรราศีที่ 09 นั้นเป็นเจ้าตติยตรียางค์ (จะเป็นรูปราศีตรีโกณ (ธาตุ) คือ 01 , 05 , 09 )
ส่วน
|
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
ปฐม
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
ทุติย
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
ตติย
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
|
(04) ปาทางศะ หรือ จตุรฐางศะ คือการแบ่งราศีออกเป็น 4 ส่วนๆ ละ 07 องศา 30 ลิปดา โดยจัดเรียงดาวเกษตรเข้าครอบครองตามราศีจตุรเกณฑ์ คือ นับจากราศีนั้นไปเป็น 01 , 04 , 07 , 10 แล้วเอาดาวเจ้าเกษตรทั้ง 4 มาเรียงเข้าตามลับดับเป็นเจ้าปาทางศะ ที่ 1 , ที่ 2 , ที่ 3 และ ที่ 4
ดาวตนุลัคน์ , ตนุจันทร์ , อาตมการกะ ( ดาวที่มีองศาสูงสุดในดวงชะตา ) เข้าไปสถิตในปาทางศะราศีคู่มิตร , คู่ธาตุ หรือ ศุภวรรคปาทางศะ ดาวนั้นจะแสดงผลไปในทางที่ดี รุ่งเรืองไพบูลย์
องศา
|
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
07.30
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
15.00
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
22.30
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
30.00
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
|
(05) ปัญจมางศะ หรือ ปัญจางศะ คือการแบ่งราศีออกเป็น 5 ส่วนๆ ละ 06° โดยให้ดาวครอบครองตามกฎดังนี้
- ราศีเพศชาย ( คี่ ) ให้ดาวเกษตรเข้าครอบครองดังนี้ ๓ , ๗ , ๕ , ๔ , ๖
- ราศีเพศหญิง ( คู่ )ให้ดาวเกษตรเข้าครอบครองดังนี้ ๖ , ๔ , ๕ , ๗ , ๖
ดาวตนุลัคน์ , ตนุจันทร์ , อาตมการกะ ( ดาวที่มีองศาสูงสุดในดวงชะตา ) เข้าไปสถิตในราศีคู่มิตร , คู่ธาตุ หรือ ศุภวรรค ดาวนั้นจะแสดงผลไปในทางที่ดี นำความรุ่งเรืองมาให้ , นำความสุขทางครอบครัวมาให้ , มีความรู้สติปัญญาดี , สร้างฐานะและความสำเร็จด้วยดี
องศา
|
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
06
|
๓
|
๖
|
๓
|
๖
|
๓
|
๖
|
๓
|
๖
|
๓
|
๖
|
๓
|
๖
|
12
|
๗
|
๔
|
๗
|
๔
|
๗
|
๔
|
๗
|
๔
|
๗
|
๔
|
๗
|
๔
|
18
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
24
|
๔
|
๗
|
๔
|
๗
|
๔
|
๗
|
๔
|
๗
|
๔
|
๗
|
๔
|
๗
|
30
|
๖
|
๓
|
๖
|
๓
|
๖
|
๓
|
๖
|
๓
|
๖
|
๓
|
๖
|
๓
|
|
(06) ษัษฏางศะ หรือ ษัฑตางศะ คือการแบ่งราศีออกเป็น 6 ส่วนๆ ละ 05° โดยมีกฎให้ดาวเข้าครอบครองตามระบบ ประกรุติจักร ( 00° ของราศีเมษ - 30° ของราศีกันย์ ) และ วิกรุติจักร ( 00° ของราศีตุลย์ - 30° ของราศีมีน ) โดยให้ดาวเข้าครอบครองดังนี้
องศา
|
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
05
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
10
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
15
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
20
|
๒
|
๒
|
๒
|
๒
|
๒
|
๒
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
25
|
๑
|
๑
|
๑
|
๑
|
๑
|
๑
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
30
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
|
(07) สัปตางศะ หรือ สัปฏางศะ คือการแบ่งราศีออกเป็น 7 ส่วนๆ ละ 04 องศา 17 ลิปดา 08 พิลิปดา ( โดยประมาณ )โดยมีกฎว่า
- ในราศีเพศชาย ( คี่ ) ให้เริ่มจากเรือนเกษตรตัวเอง แล้วไล่ไป 7 ราศีตามลำดับ
- ในราศีเพศหญิง ( คู่ ) ให้เริ่มจากเรือนที่ 07 จากเรือนของตัวเอง แล้วไล่ไป 7 ราศีตามลำดับ
|
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
04°.17.08
|
๓
|
๓
|
๔
|
๗
|
๑
|
๕
|
๖
|
๖
|
๕
|
๒
|
๗
|
๔
|
08°.34.17
|
๖
|
๕
|
๒
|
๗
|
๔
|
๓
|
๓
|
๔
|
๗
|
๑
|
๕
|
๖
|
12°.51.25
|
๔
|
๗
|
๑
|
๕
|
๖
|
๖
|
๕
|
๒
|
๗
|
๔
|
๓
|
๓
|
17°.08.34
|
๒
|
๗
|
๔
|
๓
|
๓
|
๔
|
๗
|
๑
|
๕
|
๖
|
๖
|
๕
|
21°.25.42
|
๑
|
๕
|
๖
|
๖
|
๕
|
๒
|
๗
|
๔
|
๓
|
๓
|
๔
|
๗
|
25°.42.51
|
๔
|
๓
|
๓
|
๔
|
๗
|
๑
|
๕
|
๖
|
๖
|
๕
|
๒
|
๗
|
30°
|
๖
|
๖
|
๕
|
๒
|
๗
|
๔
|
๓
|
๓
|
๔
|
๗
|
๑
|
๕
|
|
(08) อัษตางศะ หรือ อัษฏางศะ คือการแบ่งราศีออกเป็น 8 ส่วนๆ ละ 03 องศา 45 ลิปดา โดยมีกฎให้ดาวครอบครองตาม จรราศี , สถิรราศี และ อุภยราศี ดังนี้
- จรราศี ( เมษ , กรกฏ , ตุลย์ , มกร ) ให้ดาวเข้าครอบครองไล่ไป คือ ๓ , ๖ , ๔ , ๒ , ๑ , ๔ , ๖ , ๓
- สถิรราศี ( พฤษภ , สิงห์ , พิจิก , กุมภ์ ) ให้ดาวเข้าครอบครองไล่ไป คือ ๕ , ๗ , ๗ , ๕ , ๓ , ๖ , ๔ ,
- อุภยราศี ( เมถุน , กันย์ , ธนู , มีน ) ให้ดาวเข้าครอบครองไล่ไป คือ ๑ , ๔ , ๖ , ๓ , ๕ , ๗ , ๗ , ๕
องศา
|
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
03.45
|
๓
|
๕
|
๑
|
๓
|
๕
|
๑
|
๓
|
๕
|
๑
|
๓
|
๕
|
๑
|
07.30
|
๖
|
๗
|
๔
|
๖
|
๗
|
๔
|
๖
|
๗
|
๔
|
๖
|
๗
|
๔
|
11.15
|
๔
|
๗
|
๖
|
๔
|
๗
|
๖
|
๔
|
๗
|
๖
|
๔
|
๗
|
๖
|
15.00
|
๒
|
๕
|
๓
|
๒
|
๕
|
๓
|
๒
|
๕
|
๓
|
๒
|
๕
|
๓
|
18.45
|
๑
|
๓
|
๕
|
๑
|
๓
|
๕
|
๑
|
๓
|
๕
|
๑
|
๓
|
๕
|
22.30
|
๔
|
๖
|
๗
|
๔
|
๖
|
๗
|
๔
|
๖
|
๗
|
๔
|
๖
|
๗
|
26.15
|
๖
|
๔
|
๗
|
๖
|
๔
|
๗
|
๖
|
๔
|
๗
|
๖
|
๔
|
๗
|
30.00
|
๓
|
๒
|
๕
|
๓
|
๒
|
๕
|
๓
|
๒
|
๕
|
๓
|
๒
|
๕
|
|
(09) นวางค์ หรือ นวางศะ คือการแบ่งราศีออกเป็นราศีละ 9 ส่วนๆ ละ 3° 20ลิปดา โดยมีกฎว่าให้แบ่งตามธาตุของราศี คือ ธาตุไฟ , ธาตุน้ำ , ธาตุลม และ ธาตุดิน โดยเอาราศีแม่ธาตุ ( จรราศี ) เป็นหลักในการเริ่มนับดาวเจ้านวางค์ แล้วไล่ไปตามราศีถัดไปจนครบ 9 ราศี
- ราศีธาตุไฟ ( เมษ , สิงห์ , ธนู )
- ราศีธาตุน้ำ ( กรกฎ , พิจิก , มีน )
- ราศีธาตุลม ( ตุลย์ , กุมภ์ , เมถุน )
- ราศีธาตุดิน ( มกร , พฤษภ , กันย์ )
องศา
|
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
03.20
|
๓
|
๗
|
๖
|
๒
|
๓
|
๗
|
๖
|
๒
|
๓
|
๗
|
๖
|
๒
|
06.40
|
๖
|
๗,๘
|
๓
|
๑
|
๖
|
๗,๘
|
๓
|
๑
|
๖
|
๗,๘
|
๓
|
๑
|
10.00
|
๔
|
๕
|
๕
|
๔
|
๔
|
๕
|
๕
|
๔
|
๔
|
๕
|
๕
|
๔
|
13.20
|
๒
|
๓
|
๗
|
๖
|
๒
|
๓
|
๗
|
๖
|
๒
|
๓
|
๗
|
๖
|
16.40
|
๑
|
๖
|
๗,๘
|
๓
|
๑
|
๖
|
๗,๘
|
๓
|
๑
|
๖
|
๗,๘
|
๓
|
20.00
|
๔
|
๔
|
๕
|
๕
|
๔
|
๔
|
๕
|
๕
|
๔
|
๔
|
๕
|
๕
|
23.20
|
๖
|
๒
|
๓
|
๗
|
๖
|
๒
|
๓
|
๗
|
๖
|
๒
|
๓
|
๗
|
26.40
|
๓
|
๑
|
๖
|
๗,๘
|
๓
|
๑
|
๖
|
๗,๘
|
๓
|
๑
|
๖
|
๗,๘
|
30.00
|
๕
|
๔
|
๔
|
๕
|
๕
|
๔
|
๔
|
๕
|
๕
|
๔
|
๔
|
๕
|
|
(10) ทศางศะ คือการแบ่งราศีออกเป็น 10 ส่วนๆ ละ 3° โดยให้เริ่มนับที่ดาวเกษตร ของราศีที่ 11 , 12 , 01 , 02 , 03 , 04 , 05 , 06 , 07 , 08 จากราศีที่ต้องการนับ จะได้ดังนี้
องศา
|
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
03
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
06
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
09
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
12
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
15
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
18
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
21
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
24
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
27
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
30
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
|
(11) เอกาทศางศะ คือการแบ่งราศีออกเป็น 11 ส่วนๆ ละ 2 ; 8/11 องศา โดยให้เริ่มนับจากดาวเกษตร ของราศีที่ 12 , 01 , 02 , 03 , 04 , 05 , 06 , 07 , 08 , 09 , 10 จากราศีที่ต้องการนับ จะได้ดังนี้
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
|
(12) ทวาทศศางศะ คือการแบ่งราศีออกเป็น 12 ส่วนๆ ละ 2.30 องศา โดยนับเอาดาวเกษตรจากราศีที่ต้องการนับ แล้วไล่ดาวเกษตรไปจนครบ 12 ราศี
องศา
|
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
02.30
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
05.00
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
07.30
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
10.00
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
12.30
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
15.00
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
17.30
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
20.00
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
22.30
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
25.00
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
27.30
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
30.00
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
|
(13) ตฤมศางศะ คือ การแบ่งราศีออกเป็น 30 ส่วน โดยแต่ละส่วนจะให้ดาวเข้าครอบครองอาณาเขตไม่เท่ากัน แล้วแต่ว่าเป็นราศีเพศชาย ( คี่ ) หรือ ราศีเพศหญิง ( คู่ ) และใช้ดาวครอบครองเป็นเจ้าการเพียง 5 ดวง ซึ่งเป็นดาวเคราะห์อันมองเห็นด้วยตาเปล่า คือ ๓ , ๔ , ๕ , ๖ และ ๗ มีอาณาเขตครอบครองต่างกันคือดังนี้
- ราศีเพศชาย ( คี่ ) ได้แก่ราศี เมษ , เมถุน , สิงห์ , ตุลย์ , ธนู และ กุมภ์ มีดาวครอบครอง และ ระยะองศาดังนี้
ระยะองศาที่
|
เมษ
|
เมถุน
|
สิงห์
|
ตุลย์
|
ธนู
|
กุมภ์
|
00° - 05° = 5°
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
05° - 10° = 5°
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
10° - 18° = 8°
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
18° - 25° = 7°
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
25° - 30° = 5°
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
- ราศีเพศหญิง ( คู่ ) ได้แก่ราศี พฤษภ , กรกฎ , กันย์ , พิจิก , มกร และ มีน มีดาวครอบครอง และ ระยะองศาดังนี้
ระยะองศาที่
|
พฤษภ
|
กรกฎ
|
กันย์
|
พิจิก
|
มกร
|
มีน
|
00° - 05° = 5°
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
๖
|
05° - 12° = 7°
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
๔
|
12° - 20° = 8°
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
๕
|
20° - 25° = 5°
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
๗
|
25° - 30° = 5°
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
๓
|
|
(14) โษทศางศะ คือ การแบ่งราศีออกเป็น 16 ส่วนๆ ละ 01 องศา 25 ลิปดา 30 พิลิปดา โดยให้ดาวครอบครองจากราศีที่จะนับ แล้วไล่เรียงไปจนครอบ 12 ราศี เมื่อครบ 12 ราศีแล้วจะเห็นว่าเหลืออีก 4 วรรค คือวรรคที่ 13 – 16 ให้แบ่งดาวเข้าครอบครองในวรรคทั้ง 4 ดังนี้
- วรรคที่ 13 – 16 ในราศีเพศชาย เจ้าวรรค ๗ , ๔ , ๓ , ๑
- วรรคที่ 13 – 16 ในราศีเพศหญิง เจ้าวรรค ๑ , ๓ , ๔ , ๗
วรรคที่ 01 – 05 เรียกว่า อารัมภะ ( ช่วงต้น ) , วรรคที่ 06 – 10 เรียกว่า มัธยะ ( ช่วงกลาง ) , วรรคที่ 11 – 15 เรียกว่า วิรามะ ( ช่วงปลาย ) และ วรรคที่ 16 เรียกว่า ภวะริกตะวรรค แสดงถึง อดีต , ปัจจุบัน , อนาคต และ ความล้มเหลว ( ริกตะสุทธิ )
ตนุลัคน์ , ตนุจันทร์ , อาตมการกะ สถิตวรรคใดองศา ต้น , กลาง , ปลาย ของราศีวรรค จะแสดง ดี – ร้าย , ต้น – กลาง – ปลาย ของอายุ ( อายุแบ่งออกเป็นช่วงละ 25 ปี รวม 3 ช่วง = 75 ปี ) เกิน 75 ปีไปแล้ว เรียกว่าเป็นวัยริกตะ ( วัยตาย วัยแห่งความชราภาพมาก วัยพิการทุพพลภาพ )
เมษ
|
พฤษภ
|
เมถุน
|
กรกฎ
|
สิงห์
|
กันย์
|
ตุลย์
|
พิจิก
|
ธนู
|
มกร
|
กุมภ์
|
มีน
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๗
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗,๘
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๕
|
๓
|
๖
|
๔
|
๒
|
๑
|
๔
|
๖
|
๓
|
๕
|
๗
|
๗,๘
|
๗
|
๑
|
๗
|
๑
|
๗
|
๑
|
๗
|
๑
|
๗
|
๑
|
๗
|
๑
|
๔
|
๓
|
๔
|
๓
|
๔
|
๓
|
๔
|
๓
|
๔
|
๓
|
๔
|
๓
|
๓
|
๔
|
๓
|
๔
|
๓
|
๔
|
๓
|
๔
|
๓
|
๔
|
๓
|
๔
|
๑
|
๗
|
๑
|
๗
|
๑
|
๗
|
๑
|
๗
|
๑
|
๗
|
๑
|
๗
|
|
(15) ษัษฏิอางศะ คือแบ่งราศีออกเป็น 60 ส่วนๆละ 30 ลิปดา โดยราศีเพศชาย ( คี่ ) จะเริ่มนับษัษฏิอางศะที่ 01 – 60 ตามลำดับ ส่วนราศีเพศหญิง ( คู่ ) จะนับย้อนษัษฏิอางศะจากที่ 60 – 01 โดยราศีเพศหญิงจะนับษัษฏิอางศะที่ 60 เป็น 01 , ที่ 59 เป็น 02 ไล่ย้อนกลับไป
ตนุลัคน์ , ตนุจันทร์ , อาตมการกะ เสวยวรรคใดๆ หนึ่งในษัษฏิอางศะ และ เสวยภาคใดเช่น อารัมภะ , มัธยะ , วิรามะ โดยแยกแต่ละภาคไว้ภาคละ 20 ปี เหตุการณ์จะเกิดจังหวะภาคใดขึ้นอยู่กับอายุของเจ้าชะตา หากพ้นเขตอายุภาคไปแล้วเหตุการณ์ ดี-ร้าย ก็จะไม่ปรากฏขึ้น
อารัมภะ ( 00 ปี – 20 ปี )
คี่ / ลำดับที่
|
คี่ / องศาที่
|
คู่ / ลำดับที่
|
คู่ / องศาที่
|
ชื่อเรียก
ในคัมภีร์
ที่แตกต่างกัน
|
01
|
00.00-00.30
|
60
|
29.30-30.00
|
โฆรำศะ , โฆร
|
02
|
00.30-01.00
|
59
|
29.00-29.30
|
รากษศำศะ , รากษส
|
03
|
01.00-01.30
|
58
|
28.30-29.00
|
เทวำศะ , เทวภาค
|
04
|
01.30-02.00
|
57
|
28.00-28.30
|
กุเพรำศะ , อุพิร์
|
05
|
01.30-02.30
|
56
|
27.30-28.00
|
รักโษคณะ
|
06
|
02.30-03.00
|
55
|
27.00-27.30
|
กินนะรำศะ , กินนร
|
07
|
03.00-03.30
|
54
|
26.30-27.00
|
ภรัษฏำศะ , หรุสตะ
|
08
|
03.30-04.00
|
53
|
26.00-26.30
|
กุละฆะนำศะ , กาลาคนานะ
|
09
|
04.00-04.30
|
52
|
25.30-26.00
|
คะระลำศะ , คะระละ
|
10
|
04.30-05.00
|
51
|
25.00-25.30
|
อัคนิฆตะ
|
11
|
05.00-05.30
|
50
|
24.30-25.00
|
มะยำศะ , มายางศ
|
12
|
05.30-06.00
|
49
|
24.00-24.30
|
ปเรตะปุรีศำศะ , เปรตะปุริหะ
|
13
|
06.00-06.30
|
48
|
23.30-24.00
|
อะปำปะติยำศะ , อะปะมะปตัย
|
14
|
06.30-07.00
|
47
|
23.00-23.30
|
เทวะคะเณศำศะ , เทวคณาสะ
|
15
|
07.00-07.30
|
46
|
22.30-23.00
|
กาลำศะ , กาลา
|
16
|
07.30-08.00
|
45
|
22.00-22.30
|
สะระปำศะ , ศารปะ
|
17
|
08.00-08.30
|
44
|
21.30-22.00
|
อะมะฤตำศะ , อมฤต
|
18
|
08.30-09.00
|
43
|
21.00-21.30
|
จันทรำศะ , จันทร
|
19
|
09.00-09.30
|
42
|
20.30-21.00
|
มฤทวำศะ , มฤทวางศ
|
20
|
09.30-10.00
|
41
|
20.00-20.30
|
โกมะลำศะ , โกมลางศ
|
มัธยะ ( 20 ปี – 40 ปี )
คี่ /ลำดับที่
|
คี่ / องศาที่
|
คู่ /ลำดับที่
|
คู่ / องศาที่
|
ชื่อเรียก
ในคัมภีร์
ที่แตกต่างกัน
|
21
|
10.00-10.30
|
40
|
19.30-20.00
|
ปัทมะภานะวำศะ , ปัทมะ
|
22
|
10.30-11.00
|
39
|
19.00-19.30
|
วิษณุอำศะ , ลักษมีศ
|
23
|
11.00-11.30
|
38
|
18.30-19.00
|
ภรหะมำศะ , วาคีศ
|
24
|
11.30-12.00
|
37
|
18.00-18.30
|
มเหศวะรำศะ , ทิฆัมพร
|
25
|
12.00-12.30
|
36
|
17.30-18.00
|
เทวำศะ , เทวางศ
|
26
|
12.30-13.00
|
35
|
17.00-17.30
|
อรรทรำศะ , อินทร
|
27
|
13.00-13.30
|
34
|
16.30-17.00
|
กลินาศำศะ , กาลินาศ
|
28
|
13.30-14.00
|
33
|
16.00-16.30
|
กษีติศวรำศะ , กษิติศวระ
|
29
|
14.00-14.30
|
32
|
15.30-16.00
|
กะมะลากรำศะ , กมลากร
|
30
|
14.30-15.00
|
31
|
15.00-15.30
|
คุลิกำศะ , มัณฑตมะชะ
|
31
|
15.00-15.30
|
30
|
14.30-15.00
|
มฤตยุกะรำศะ , มฤตยู
|
32
|
15.30-16.00
|
29
|
14.00-14.30
|
กาลำศะ , กาลา
|
33
|
16.00-16.30
|
28
|
13.30-14.00
|
ทาวาคณิอำศะ , เทวคนิยา
|
34
|
16.30-17.00
|
27
|
13.00-13.30
|
โฆรำศะ , โจรา
|
35
|
17.00-17.30
|
26
|
12.30-13.00
|
ยะมำศะ , ยมกันตกะ
|
36
|
17.30-18.00
|
25
|
12.00-12.30
|
กัณฏะกำศะ , สัตยา
|
37
|
18.00-18.30
|
24
|
11.30-12.00
|
สุธาศำศะ , อมฤต
|
38
|
18.30-19.00
|
23
|
11.00-11.30
|
อมฤตำศะ , ปริปูรณะ
|
39
|
19.00-19.30
|
22
|
10.30-11.00
|
วิษประคธาศำศะ , วิษประทคธา
|
40
|
19.30-20.00
|
21
|
10.00-10.30
|
วิษกุละนาศะ , กุละนาศ
|
วิรามะ ( 40 ปี – 60 ปี )
คี่ /ลำดับที่
|
คี่ / องศาที่
|
คู่ /ลำดับที่
|
คู่ / องศาที่
|
ชื่อเรียก
ในคัมภีร์
ที่แตกต่างกัน
|
41
|
20.00-20.30
|
20
|
09.30-10.00
|
มขยะศำศะ , มุขยะ
|
42
|
20.30-21.00
|
19
|
09.00-09.30
|
วำศะกัษยำศะ , วามศักษยะ
|
43
|
21.00-21.30
|
18
|
08.30-09.00
|
อุตบาตกำศะ , อุปาตต์
|
44
|
21.30-22.00
|
17
|
08.00-08.30
|
กาลำศะ , กาลารุปะ
|
45
|
22.00-22.30
|
16
|
07.30-08.00
|
เสามยำศะ , เสามยะ
|
46
|
22.30-23.00
|
15
|
07.00-07.30
|
มฤทวำศะ , มรุทวางศ
|
47
|
23.00-23.30
|
14
|
06.30-07.00
|
ศีตะลำศะ , ศุษิฏละ
|
48
|
23.30-24.00
|
13
|
06.00-06.30
|
ทัมสตระลำศะ , ทัมสตระ
|
49
|
24.00-24.30
|
12
|
05.30-06.00
|
อินทุมุขำศะ , สีตาพชะ
|
50
|
24.30-25.00
|
11
|
05.00-05.30
|
ปรวิณำศะ , อินทุมุข
|
51
|
25.00-25.30
|
10
|
04.30-05.00
|
กาลาคนิอำศะ , ปูระณะ
|
52
|
25.30-26.00
|
09
|
04.00-04.30
|
ทัณฑายุธำศะ , กาลาคนิย
|
53
|
26.00-26.30
|
08
|
03.30-04.00
|
นิรมะลำศะ , ทัณฑายุธ
|
54
|
26.30-27.00
|
07
|
03.00-03.30
|
ศุภะกะรำศะ , นิรมล
|
55
|
27.00-27.30
|
06
|
02.30-03.00
|
กะรุรำศะ , ษุพะ
|
56
|
27.30-28.00
|
05
|
02.00-02.30
|
ศีตะลำศะ , อษุพะ
|
57
|
28.00-28.30
|
04
|
01.30-02.00
|
สุธำศะ , อติษุพะ
|
58
|
28.30-29.00
|
03
|
01.00-01.30
|
ปะโยธะยำศะ , สุธาปโยติ
|
59
|
29.00-29.30
|
02
|
00.30-01.00
|
ภรหมนำศะ , ธยุมณิ
|
60
|
29.30-30.00
|
01
|
00.00-00.30
|
อินทรุเรขำศะ , อินทุเรขา
|
หมายเหตุ ชื่อเรียกใน 2 ตำรานั้นจะแตกต่างกันบ้าง บางตำแหน่งก็สลับที่กัน และ บางตำแหน่งก็เรียกเหมือนกัน ข้าพเจ้าจึงนำมาเปรียบเทียบให้ดูเพื่อการค้นคว้าถึงที่มา และ ข้อยุติกันต่อไป
|
(16) ฆฑิกางศะ คือ ราศีหนึ่งแบ่งออกเป็น 150 ฆฑิกางศะ และ 1 ฆฑิกางศะยังแบ่งออกอีกเป็น 2 ส่วน รวมเป็นทั้งหมด 300 ส่วน ( 1 ฆฑิกางศะ = 6 พิลิปดา ) จรราศี , สถิรราศี , อุภยราศี เป็นหลักในการแบ่ง และ การใช้ชื่อในฆฑิกางศะ แต่เนื่องจากฆฑิกางศะนั้นไม่ค่อยจำเป็นในการนำมาใช้เท่าใดนัก จึงไม่จำเป็นต้องเอามาศึกษา เนื่องด้วยมีชื่อเป็นจำนวนมาก จึงให้ข้ามไป
|
จบบริบูรณ์
|