Website แห่งแรกและแห่งเดียวในเมืองไทย ที่ให้บริการฤกษ์ยามชั้นสูงของโหราศาสตร์ภารตะจากคัมภีร์พระเวทของพราหมณ์อันศักดิ์สิทธิ์ และได้ผลตอบรับดีสูงสุดเป็นปีที่ 15 แล้ว WebSite ของเราให้การปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลของคุณในระดับสูงสุด ด้วยเทคโนโลยีชั้นสูงจากยุโรป "SiteGuarding" บริการดูฮวงจุ้ย แก้ฮวงจุ้ย เสริมฮวงจุ้ย ด้วยประสบการณ์กว่า 30 ปี***

บทที่ 8

ลัคน์สผุด

˜

68.  ลัคน์ ลัคน์เป็นจุดที่หมายในสุริยวิถีที่เส้นขอบฟ้าตะวันออกกำหนดเป็นราศี, องศา ฯลฯ ของดาวเมษ.

69.  เดือนสุริยคติ พื้นพิภพที่เป็นวงรีรูปไข่หมุนวันละรอบจากตะวันตกไปตะวันออก  ดังนั้นราศีทั้งหมดของจักรราศีจึงได้รับแสงอาทิตย์ทั่วกันเดือนสุริยคติทั้ง 12 เดือนมีชื่อตรงกับราศีทั้ง 12 ราศี  ในวันต้นของราศีเมษองศาแรกของราศีนั้นอยู่ที่เส้นขอบฟ้าตะวันออก  และราศีต่อไปก็ค่อย ๆ ปรากฏขึ้นทีละเล็กละน้อยจนถึงวันต่อไป  เมื่อเวลาอาทิตย์ขึ้งองศาที่ 2 ของเมษก็จะปรากฏขึ้นที่ขอบฟ้าตะวันออก  เมื่อวันครบรอบปีสุริยคติองศาสุดท้ายของจักรราศีจะปรากฏเมื่ออาทิตย์ขึ้นที่ขอบฟ้าตะวันออกในวันสุดท้ายของราศีมีน  ลัคน์เป็นที่หรือจุดเฉพาะที่ขอบฟ้าตะวันออกเมื่อขณะหนึ่งเวลาใด  จำกัดความลงว่าลัคน์เป็นจุดตะวันออกของสุริยวิถีที่บรรจบกับขอบฟ้าเมื่อขณะต้องการ เรียกว่าอุทัยลัคน์.

70.  หาที่หรือจุดของลัคน์ ที่แรกหาที่สถิต (สผุด)  ของอาทิตย์นิรายะนะเอาอายะนางศบวกเข้า  จะได้สผุดอาทิตย์สายะนะ  หาราศีที่อาทิตย์สถิตทั้งองศาที่ผ่านไปแล้วและองศาที่จะต้องผ่านต่อไปอีกในราศีนั้น  จำนวนองศาที่อาทิตย์ผ่านไปแล้วเป็นภุกฐางศ (องศาอดีต)  และที่จะต้องผ่านต่อไปอีกเป็นโภคยางศ (องศาอนาคต)  หาโภคยกาล (จำนวนเวลาที่จะผ่านตลอดโภคยางศ)  จากราศีมานัส  ตามกฎต่อไปนี้ :

42                                                                   โหราวิทยา


X โภคยางศ

กฎ (ก)

จำนวนเวลา (อันโตนาที) ของราศีอาทิตย์สายะนะ

30

= โภคยางศ

ได้โภคยกาลเท่าไรเอาไปลบอิษตกาล (เวลาที่จะหาลัคน์) แล้วเอาจำนวนเวลา (อันโตนาที) ในราศีของราศีหน้าลบต่อ ๆ กันไปตามลำดับเท่าที่จะลบได้จนถึงราศีสุดท้ายที่จะลบต่อไปไม่ได้  ราศีนี้เรียกว่าอสุทธราศี  และอันโตนาทีของราศีนี้เรียกว่าอสุทธนาที  เป็นที่เห็นได้ว่าตามเวลาที่ต้องการ (หาลัคน์)  นี้อสุทธราศีอยู่ที่เส้นขอบฟ้า  องศาของอสุทธราศีที่พ้นเส้นขอบฟ้าไปเป็นองศาที่ล่วงไปแล้วเรียกว่าภุกฐ  หาได้ดังนี้

X เวลาที่ล่วงเข้าไป ในอสุทธราศี = ภุกฐ

กฎ (ข)

30

อสุทธนาที

(องศาอดีต)  บวกองศาที่ได้นี้เข้ากับองศาของราศีที่แล้วมา (ราศีที่ลบได้) นับจากองศาที่ 1 ของราศีเมษ  แล้วเอาอายะนางสลับจำนวนนี้  เหลือเท่าไรเป็นองศาจากดาวเมษถึงลัคน์.

ตัวอย่าง  11 หาลัคน์ในชะตาตัวอย่าง

อาทิตย์นิรายะนะ  178°  49'    0"   อายะนางศ  21°  15'    57"

อิษกาล (สุรโยทัยชนม์กาลฆฑิกา) 20 / 15

ทีฆ. อาทิตย์นิรายะนะ                        178°  49'    0"

อายะนางศ                                              21    15    57  +

ทีฆ. อาทิตย์สายะนะ                          200     4     57

200° ÷ 30 = 6  (เศษ 20) = ราศีตุลย์  20°  5'

ลัคน์สผุส 43


ฉะนั้นภุกฐางศ (องศาอดีต)  = 20°  5'    ในราศีตุลย์

โภคยางศ  (องศาอนาคต) = 30°- 20°  5'   =  9°  55'    ในราศีตุลย์

X โภคยางศ  = โภคยกาล

โภคยกาล

อันโตนาที

30°

กฎ (ก)  อันโตนาทีที่ วิถ เหนือ  13°  ราศีตุลย์ = 5 /6

X  9° 55'

โภคยกาล

5 /6

30°

= (5 X 60 + 6) ÷ (30 X 60) X (9 X 60 + 55)

= 306 ÷ 1800 X 595

หรือ 306 X 595 ÷ 1800 = 101.15  วิมหานาที

101.15 ÷ 60 = 1 เป็นมหานาที  เศษ 41.15

เศษ 41.15  เป็นวิมหานาที = 41.15 วิมหานาที

ฉะนั้นโภคยกาล = 1 มหานาที   41.15 วิมหานาที

มหา        วิมหา

นาที        นาที

คือเวลาที่อาทิตย์จะต้องจรในราศีตุลย์อีก                        1              41.15

ราศีพฤศจิก                     5              20.83

ราศีธนู                            5              30.6

ราศีมกร                          5              13

17                                          45.65

อิษตกาล (เวลาที่จะหาลัคน์)                                             20           15

มหานาทีที่ล่วงไปแล้วถึงสุดท้ายของราศีมกร               17           45

เวลาที่เหลือในอสุทธราศีคือราศีกุมภ์                              2              30

44                                                                   โหราวิทยา


ภุกฐางศตรงกับภุกฐกาลข้างบนนั้นได้ดังนี้ :

X เวลาที่เหลือในอสุทธราศี = องศาของอสุทธราศี

กฎ (ข)

30°

อสุทธนาที

X 2 / 30

องศาของอสุทธราศี =

องศาของอสุทธราศี

30°

4 / 37.5

= (30 X 60) ÷ (4 X 60 + 37.5) X (2 X 60 + 30)

= 1800 X 150 ÷ 277.5

1800 X 150 ÷ 277.5

270000 ÷ 277.5 = 972  เป็นลิปดา  เศษ 2700

927 ÷ 60  = 16  เป็นองศา  เศษ 12

เศษ 12 เป็นลิปดา

เศษ 2700 X 60 ÷ 277.5 = 58 เป็นพิลิปดา

X เวลาที่เหลือในอสุทธราศี - 16°  12'    58"

ฉะนั้น

30°

อสุทธนาที

ภุกฐราศีกุมภ์ = 16 องศา   12 ลิปดา   58 พิลิปดา

ฉะนั้น  ลัคน์สายะนะ   =   10    16°  12'    58"

อายะนางศ                21     15     57   -

ฉะนั้น  ลัคน์ที่แท้จริง  =      9   24     57       1

ลัคน์ของชะตาตัวอย่างได้  24°  57'    ราศีมกร  หรือแปลงเป็นองศาจากจุดแรกของดาวเมษได้  294°  57'    เป็นอุทัยลัคน์  เอา 180° บวกเข้าได้อัสตลัคน์ (Ascendant and Descendant)

ลัคน์สผุส 45


71.  ราศีกุณฑลิ ราศีกุณฑลิเป็นแผนจักรราศีแสดงให้เห็นภาพจำลองของท้องฟ้าเมื่อเกิด  เรียกว่าดวงชะตา.