Website แห่งแรกและแห่งเดียวในเมืองไทย ที่ให้บริการฤกษ์ยามชั้นสูงของโหราศาสตร์ภารตะจากคัมภีร์พระเวทของพราหมณ์อันศักดิ์สิทธิ์ และได้ผลตอบรับดีสูงสุดเป็นปีที่ 15 แล้ว WebSite ของเราให้การปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลของคุณในระดับสูงสุด ด้วยเทคโนโลยีชั้นสูงจากยุโรป "SiteGuarding" บริการดูฮวงจุ้ย แก้ฮวงจุ้ย เสริมฮวงจุ้ย ด้วยประสบการณ์กว่า 30 ปี***

บทที่ 4

ราศีมานัส

˜

51.  วิถันดรทางภูมิศาสตร์และระบบพิภพเป็นศูนย์กลาง (Geocentrol System) วิถ. ของสถานที่ต่าง ๆ ที่ปรากฏในแผนที่ธรรมดาเป็นวิถ. ทางภูมิศาสตร์เพราะคำนวณจากที่สถิตตามรูปวงกลมของพิภพ  แต่ทางโหราศาสตร์ว่า  ถ้ากดขั้วโลกทั้ง 2 เข้าหากันทำให้แบนรายจะเป็นวงรีอย่างรูปไข่  ดังนั้น วิถ. ซึ่งวัดจากศูนย์กลางของพิภพโดยแท้จริงของวงรี  เป็น วิถ. ที่ได้จากศูนย์กลางของพิภพ วิถ. ทางระบบพิภพเป็นศูนย์กลางจะน้อยกว่า วิถ. ทางภูมิศาสตร์ประมาณ 5 ลิปดา  เช่นที่ วิถ.ทางภูมิศาสตร์ได้ 12.57 แต่ทางระบบพิภพเป็นศูนย์กลางจะได้เป็น 12.52.

52.  ราศีมานัส (Oblique Ascension) ราศีมานัสหมายความถึง ระยะเวลาที่ปรากฏการขึ้นสู่ราศีของจักรราศี (ระยะเวลาของการเปลี่ยนจากราศีหนึ่งถึงอีกราศีหนึ่งเมื่อขึ้นสู้เส้นขอบฟ้าตะวันออก)  ถ้าไม่รู้การเปลี่ยนแปลงของราศีมานัสซึ่งเปลี่ยนจาก วิถ. หนึ่งถึงอีก วิก. หนึ่ง  ก็ไม่อาจหาลัคน์ที่ถูกต้องในดวงชะตา หรือเรือนต่าง ๆ หรือเวลาที่อาทิตย์อุทัยและอัษฎงคต  เวลาของราศีมานัสเป็นหลัก  เพื่อคำนวณโดยเฉพาะสำหรับราศีของระบบสายะนะ  และถ้าผลของการคำนวณนั้นถูกต้อง  เมื่อได้ตัดอายะนางศจากผลนี้  จะได้เวลาที่เหมาะสมเฉพาะราศีมานัสของระบบนรายะนะ  ระยะเวลาที่ราศีขึ้นสู่ขอบฟ้าของเฉพาะสถานที่หนึ่งที่ใดจะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง.

53.  จาระขัณฑ์ ระยะเวลาระหว่างราศีต่อราศีของจักรราศีเปลี่ยนแปลงไปตามจำนวนองศาต่าง ๆ กันของ วิถ.  ซึ่งจะหาให้ถูกต้องได้  โดยจาระขัณฑ์ (จำนวนที่ต่างกันของระยะเวลาเปลี่ยนราศี)  ของเฉพาะแต่ละองศาของ วิถ. เช่นตัวอย่างบุคคล 2 คนเกิดพร้อมกัน  คนหนึ่งเกิดที่กรุงเทพ ฯ และที่สงขลา


ราศีมานัส 19


ต้องผิดกันแน่นอน  เวลาอาทิตย์ขึ้นและอาทิตย์ตกของสถานที่ทุ่ง 2 ก็ไม่เหมือนกัน  ดังนั้นก่อนที่จะผูกดวงชะตาจำต้องรู้เวลาแน่นอนของการเปลี่ยนราศี ณ วิถ. ต่างกัน.

เพื่อความประสงค์ที่จะได้จาระขัณฑ์และธรุพที่ถูก  จึงต้องเฉลี่ยจาระขัณฑ์เป็นส่วนย่อยให้ได้กันกับวิศวเรขา  นักศึกษาอาจคำนวณหาราศีมานัส ณ วิถ. หนึ่งใดได้จากจาระขัณฑ์ที่กำหนดให้ไว้  หน่วยเวลาของจาระขัณฑ์ได้แก่อสุ  (อสุ หนึ่งเท่ากับ 5 วินาทีของเวลานักษัตร)  ถูกต้องตรงกันตามกฎบวกหรือลบจากธรุพ (ระยะเวลาเปลี่ยนราศีที่ถูกต้อง)  ของสายะนะราศี.

54.  ระยะเวลาที่ราศีขึ้นสู่ขอบฟ้า ระยะเวลาขึ้นสู่ขอบฟ้าของราศีแห่งจักรวาลเอาจากสายะนะราศีเมษ  เฉลี่ยที่เส้นศูนย์สูตรโดยตั้งศูนย์ที่เส้นวิถันดร (0 วิถ.)

ราศี                                              อสุ                          ชั่วโมง                    นาที                        วินาที

เมษ  กัน์  ตุลย์  มีน                             1674                       1                     51                                         36

พฤศภ สิงห์ พฤศจิก กุมภ์              1795                         1                        59                           40

มิถุน กรกฎ ธนู มกร                     3931                         2                           8                           44

55.  พิจารณาหาราศีมานัส จากหรือถึงเวลาที่ราศีขึ้นสู่ขอบฟ้าที่เส้นศูนย์สูตร  จาระขัณฑ์ของสถานที่ที่ต้องการ  (ใน วิก. เหนือ)

จากเมษถึงมิถุน    และจากมกรถึงมีน  เป็นเกณฑ์ ลบ

จากกรกฎถึงกันย์  และจากตุลย์ถึงธนู  เป็นเกณฑ์ บวก

คือจากเมษถึงมิถุนและจากมกรหรือมีน  เอาจาระขัณฑ์เฉพาะสถานที่ที่ต้องการลบจากกรกฎาถึงกันย์และจากตุลย์ถึงธนู  เอาจาระขัณฑ์นั้นบวกจะได้เวลาขึ้นสู่ขอบฟ้าของราศี.

จาระขัณฑ์             จำนวนที่  1           เป็น        อทิ

จำนวนที่ 2                                            เป็น        มัธยะ

จำนวนที่ 3                                            เป็น        อันตยะ


20                                                                   โหราวิทยา


อท          สำหรับราศี           เมษ         กันย์        ตุลย์        มีน.

มัธยะ            ,,                   พฤษภ    สิงห์       พฤศจิก  กุมภ์.

อันตยะ         ,,                    มิถุน       กรกฎ     ธนู          มกร.

ตัวอย่างที่ 2 หาราศีมานัสที่ 13 วิถ. เหนือซึ่งมีจาระขัณฑ์เป็น 162, 130  และ 53 อสุตามลำดับ.

จาระ

ราศี                         0 วิถ.      13 วิถ.                    อันโตนาทีที่ 13° วิถ.   เหนือ

อะสุ       เหนือ                อะสุ   ฆทิ  วิฆทิ               น.     นาที     วินาที

1    เมษ                 1674    -    162              1512     4     12                   1       40         48

2    พฤษภ            1795    –   130               1665     4     17               1       51           -

3    มิถุน               1913    –     53               1878     5     13                   2         5          12

4    กรกฎ             1913   +      53               1974     5     30              2       12          16

5    สิงห์                                1795   +    130               1925     5     20              2         7          20

6    กันย์                                1674   +    162               1836     5       6                  2         2          24

7    ตุลย์                 1674   +    162               1836     5       6                  2         2          24

8    พฤศจิก         1795   +    130               1925     5     20             2         7          20

9    ธนู                  1913   +      53               1974     5     30             2       12          16

10  มกร                 1931   –      53               1878     5     13                  2         5          12

11  กุมภ์                                1795   +    130               1665     4     37             1       15            -

12  มีน                  1675    -    162               1512     4     12                  1        40          48

216000                          216000   60                         24

ตัวอย่าง  3 หาราศีมานัสที่  51° 32'    วิถ.  เหนือ  จาระขัณฑ์เป็น 921, 737, 307 ตามลำดับ (เศษ 32'   มากกว่าครึ่งปัดขึ้นใช้จาระขัณฑ์ของ 52'  )

ราศีมานัส 19


จาระ 51

ราศี                         0 วิถ.      32 วิถ.                    อันโตนาทีที่ 51° 32            วิถ.   เหนือ

อะสุ       เหนือ                อะสุ      ฆทิ       วิฆทิ        น.     นาที     วินาที

1    เมษ              1674    -    921                 753        2           5        -      50         12

2    พฤษภ            1795   -    737               1058        2         56        1      10         12

3    มิถุน               1931   –    307              1624        4          30       1      48         16

4    กรกฎ             1931   +    307              2238        6          13           2      29         12

5    สิงห์                                1795   +    737              2532        8            2           2      48         48

6    กันย์                                1674   +    921              2595        7          12      2      53           -

7    ตุลย์                 1674   +    921              2595        7          12      2      53           -

8    พฤศจิก         1795   +    737              2532        7            2          2      48          48

9    ธนู                  1931   –    307              2238        6          13          2      49          12

10  มกร                 1931   –    307              1624        4          30       1      48         16

11  กุมภ์                                1795   -    737               1058        2         56        1      10         12

12  มีน                  1674    -    921                 753        2           5        -      50         12

216000                          216000      60                         24

56.  เวลาของราศีในวิถันดรใต้  เกณฑ์บวกและละของจาระขัณทีวิกถ. เหนือกลับเป็นลบและบวกที่วิถ. ใต้  เช่นในตัวอย่าง 2 เอา 162 บวกกับ 1674 แทนลบ จะได้อันโดนาทีของราศีเมษที่ 13° วิถ. ใต้  ราศีที่มีอันโตนาทีน้อยในวิถ. เหนือ กลับเป็นราศีที่มีอันโตนาทีมากใน วิถ. ใต้.