บทที่ 10
อิษฎะและกัษฎะผล
135. ข้อสังเกตทั่วไป อิษฎะและกัษฎะผลเป็นที่หมายให้รู้ถึงผลดีและร้ายซึ่งจะเกิดขึ้นในทศาหนึ่ง ๆ เป็นพิเศษออกไปจากผลสามัญของดาวเคราะห์เจ้ามหาทศาหรืออนุทศานั้น ๆ เช่นความเป็นอยู่และอาชีพซึ่งจะเป็นไปภายใต้เงื่อนไขของดาวเคราะห์ ทั้งผลที่เนื่องจากเรือนต่าง ๆ , โยค, เกณฑ์ และความหมายอย่างอื่น ๆ ของดาวเคราะห์ สิ่งเหล่านี้จะต้องกำหนดขึ้นให้เหมาะสมแก่กำลังของดาวเคราะห์เจ้ามหาทศาและอนุทศา การที่จะรวบรวมความเห็นทั่ว ๆ ไปให้เป็นรูปร่างเหมาะสมแก่เหตุการณ์ ที่จะเกิดขึ้นในระหว่างมหาทศา หรือ อนุทศานั้นเกี่ยวกับขอบเขตของผลดีและร้าย อิษฎะผล (ผลดี) และกัษฎะผล (ผลร้าย) ของแต่ละดาวเคราะห์เจ้าทศาจะช่วยในเรื่องนี้ได้มาก.
136. เจษฎาเกณฑ์ของอาทิตย์ ในบทที่แล้วมาได้กล่าวไว้ว่า อาทิตย์ไม่มีเจษฎาเกณฑ์หรือเจษฎาพละ เพราะการโคจรของอาทิตย์ไม่พักร์ แต่ในเรื่องนี้มีวิธีหาเจษฎาพละของอาทิตย์ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในการหาอิษฎะและกัษฎะผลดังนี้ :
เอา 90 องศาบวกเข้ากับสายะนะทีฆ. ของอาทิตย์ ผลบวกเป็นเจษฎาเกณฑ์ของอาทิตย์ เอา 3 หารเจษฎาเกณฑ์ได้เป็นเจษฎะพละ.
ตัวอย่าง 61 : หาเจษฎาพละของอาทิตย์ในชะตาตัวอย่าง.
สายะนะทีฆ. อาทิตย์ 200° 24'
บวก 90° 00'
อาทิตย์เจษฎาเกณฑ์ 290° 24'
เพราะว่าเจษฎาเกณฑ์มากกว่า 180 องศาต้องเอาไปลบจาก 360 องศา.
ฉะนั้น 360° - 290° 24' = 36' = อาทิตย์ เจษฎาเกณฑ์
|
อาทิตย์เจษฎาพละ = 69° 36'
3
137. เจษฎาพละของจันทร์ เอาทีฆ. ของอาทิตย์ลบจากทีฆ. ของจันทร์ได้เป็นเจษฎาเกณฑ์ ถ้าผลลบมากกว่า 180 องศา เอาผลลบนั้นไปลบจาก 360 องศา แล้วเอา 3 หารได้เป็นเจาฎาพละ.
ตัวอย่าง 62 : หาเจษฎาพละของจันทร์ในชะตาตัวอย่าง.
ทีฆ. จันทร์ 311°52'
ทีฆ. อาทิตย์ 179° 8'
132°32'
|
เจาฎาพละ = 132°32'
3
138. หาอิษฎะผล วิธีหาอิษฎาผลและกัษฎาผลมีหลายวิธี ณ ที่นี้จะนำเอาวิธีสามัญซึ่งเป็นวิธีที่หาได้ง่าย และได้ดุลย์ภาคของอิษฎะและกัษฎะผลพอควรเพื่อเป็นอุปกรณ์ในการวินิจฉัยผลของดาวเคราะห์เจ้ามหาทสาและเจ้าอนุทศา.
ตัวอย่าง 63 : หาอิษฎะผลของดาวเคราะห์ในชะตาตัวอย่าง.
|
อุจจ์พละ X เจษฎาพละ
60
อาทิตย์ 3.6 X 23.2 ÷ 60 = 1.39
จันทร์ 32.6 X 44.2 ÷ 60 = 24.24
อังคาร 37.6 X 22.28 ÷ 60 = 13.81
พุธ 54.8 X 2.13 ÷ 60 = 1.94
พฤหัสบดี 56.2 X 35.33 ÷ 60 = 33.09
ศุกร์ 2.3 X 5.76 ÷ 60 = 0.22
เสาร์ 34.9 X 21.06 ÷ 60 = 12.25
139. หากัษฎะผล กัษฎะผลได้จาก เอา 60 ตั้ง 2 ฐาน ฐานบนเอาอุจจ์พละลบได้เท่าใดตราไว้ ฐานสองล่างเอาเจษฎาพละลบได้เท่าใดเอาไปคูณผลลัพธ์ฐานบนที่ตราไว้ แล้วเอา 60 หารผลคูณนั้น ผลหารที่ได้เป็นกัษฎาผลเป็นษัษติอางศ.
ตัวอย่าง 64 : หากัษฎะผลของดาวเคราะห์ในชะตาตัวอย่าง.
|
(60 – อุจจ์พละ) X (60 – เจษฎาพละ)
60
อาทิตย์ ( 60 – 3.6 ) X ( 60 – 23.2 ) ÷ 60 = 36.43
จันทร์ ( 60 – 32.9) X ( 60 – 44.2 ) ÷ 60 = 7.14
อังคาร ( 60 – 37.2) X ( 60 – 22.28 ) ÷ 60 = 14.33
พุธ ( 60 – 68.8) X ( 60 – 2.13 ) ÷ 60 = 5.02
พฤหัสบดี ( 60 – 56.2) X ( 60 – 35.33 ) ÷ 60 = 1.56
ศุกร์ ( 60 – 2.3 ) X ( 60 – 5.76 ) ÷ 60 = 52.16
เสาร์ ( 60 – 34.9) X ( 60 – 21.06 ) ÷ 60 = 16.428
อิษฎะและกัษฎะผลของดาวเคราะห์ในชะตาตัวอย่างได้ดังนี้ :
อาทิตย์ อิษฎะผล 1.39 กัษฎะผล 36.43
จันทร์ ,, 24.24 ,, 7.14
อังคาร ,, 13.81 ,, 14.33
พุธ ,, 1.94 ,, 5.02
พฤหัสบดี ,, 33.09 ,, 1.56
ศุกร์ ,, 0.22 ,, 52.16
เสาร์ ,, 12.25 ,, 16.28
140. ข้อสังเกตสุดท้าย ดาวเคราะห์ที่ได้อิษฎะผลมากกว่าย่อมให้ผลดีเสมอ ในมหาทศาหรืออนุทศาของดาวเคราะห์นั้น ถ้าดาวเคราะห์ได้กัษฎะผลมากกว่าย่อมให้ผลร้าย
มากกว่าผลดี เช่นศุกร์ในชะตาตัวอย่างศุกร์มีกัษฎะผลมากกว่าอิษฎะผล ดังนั้นในมหาทศาหรืออนุทศาของศุกร์ ๆ จะให้เกิดความทุกข์โศกต่าง ๆ เนื่องจากเรือนที่ศุกร์ครองหรือเรือนที่ถูกเป็นเกณฑ์จากศุกร์ เช่นเป็นเจ้าเรือนที่ 5 ในพฤติการณ์เช่นนี้เป็นการแน่ที่ศุกร์จะเป็นเหตุให้เสียบุตรและทำให้มีผลร้ายในเรื่องนี้ ถ้ากำลังของเจ้ามหาทศามากกว่ากำลังของเจ้าอนุทศาผลที่จะเกิดขึ้นระหว่างอนุทศานั้นจะเป็นผลที่ชี้หมายโดยเจ้ามหาทศา ถ้าเจ้ามหาทศามีอิษฎะผลมากกว่ากัษฎาผลก็จะอำนวยให้บังเกิดศุภผลแก่เจ้าชะตา ผลในมหาทศาและอนุทศาจะต้องวินิจฉัยโดยความระมัดระวัง ด้วยไหวพริบในการปริมาณกำลังของดาวเคราะห์.
สูตร 1
อหะระคณ (X ปีอธิกสุรทิน)
31 ธันวา. อหะระ 31 ธันวา. อหะระ 31 ธันวา. อหะระ
พ.ศ. คณะ พ.ศ. คณะ พ.ศ. คณะ
2320 244 2395 X 9376 2420 18507
2371 X 610 2396 9741 2421 18872
2372 975 2392 10106 2422 19237
2373 1340 2388 10471 2423 X 19603
2374 1705 2399 X 10837 2424 19968
2375 X 2071 2400 11202 2425 20333
2376 2636 2401 11567 2426 20698
2377 2801 2402 11932 2427 X 21064
2378 3166 2403 X 12298 2428 21429
2379 X 3532 2404 12663 2429 21794
2380 3897 2405 13028 2430 22159
31 ธันวา. อหะระ 31 ธันวา. อหะระ 31 ธันวา. อหะระ
พ.ศ. คณะ พ.ศ. คณะ พ.ศ. คณะ
2382 4627 2407 X 13759 2432 22890
2383 X 4993 2408 14124 2433 23255
2384 5358 2409 14479 2434 23620
2385 5723 2410 14754 2435 X 23980
2380 6088 2411 X 15220 2436 24351
2387 X 6454 2412 15575 2437 24716
2388 6819 2413 15950 2437 25081
2389 7175 2414 16315 2439 X 25447
2390 7549 2415 X 16681 2440 25812
2391 X 7915 2416 17046 2441 26177
2392 8280 2417 17411 2442 26542
2393 8745 2418 17776 2443 X 26907
2394 9010 2419 X 18142 2544 27272
2445 27637 2462 33746 2478 39690
2446 28002 2463 X 34212 2479 X 40056
2447X 28368 2464 34577 2480 40421
2447 27733 2465 34942 2471 40786
2449 29098 2466 35307 2482 41151
2450 39463 2467 X 35673 2473 X 43517
2451 X 39829 2468 36037 2474 41782
2452 30194 2469 36403 2475 42247
2453 30559 2470 36768 2476 42612
31 ธันวา. อหะระ 31 ธันวา. อหะระ 31 ธันวา. อหะระ
พ.ศ. คณะ พ.ศ. คณะ พ.ศ. คณะ
2454 30924 2471 X 37134 2487 X 42978
2455 X 31290 2472 37499 2488 43343
2456 31655 2473 37864 2479 43708
2457 32020 2474 38229 2490 44037
2458 32375 2475 X 38595 2491 X 44439
2459 X 32751 2476 37960 2492 44704
2460 33116 2477 39325 2493 45169
2461 33481
สูตร 3
จำนวนวันนับจากวันที่ 1 มกราคม ถึงวันสิ้นเดือน
มกราคม 31 พฤษภาคม 151 กันยายน 273
กุมภาพันธ์ 59 มิถุนายน 181 ตุลาคม 304
มีนาคม 90 กรกฎาคม 212 พฤศจิกายน 334
เมษายน 120 สิงหาคม 243 ธันวาคม 365
ปีอธกสุรทิน เดือนกุมภาพันธ์เพิ่มขึ้นอีก 1 วัน.
สูตร 3
วันสัปดาห์
วันจันทร์ + 0 หรือ – 7 วันศุกร์ + 4 หรือ – 3
วันอังคาร + 1 หรือ – 6 วันเสาร์ + 5 หรือ – 2
วันพุธ + 2 หรือ – 5 วันอาทิตย์ + 6 หรือ – 1
วันพฤหัสบดี + 3 หรือ – 4 วันจันทร์ + 7 หรือ – 0
สูตร 4
มัธยระวิโคจรเฉลี่ยรายวัน (เป็นองศา)
เกณฑ์มัธยมสผุดของอาทิตย์ ณ สมมุติยุค (วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2443 ทีฆ. ตะวันออก 76°) = 257°.4568.
หน่วย ร้อย พัน หมื่น
1. 0°.9850 98°.5602 256°.6026 136°.0265
2. 1.9712 197.1205 171.2053 272.0531
3. 2.9568 295.6807 76.7070 48.0796
4. 3.9424 34.2411 342.4106 184.1062
5. 4.9280 132.8013 247.0133 320.1327
6. 5.9136 231.3616 153.6159 96.1593
7. 6.7992 329.9218 59.2176 332.1867
8. 7.7747 67.4721 324.7212 8.2124
9. 7.8704 167.0424 220.4239 344.2389
ตัวอย่าง : หามัธยสผุดของอาทิตย์เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2455 เวลา 1 ล.ท. ทีฆ. ตะวันออก 91°.
กาลกฤต 2455 – 2443 = 12 X 365 = 4380 + 3 (วันเพิ่มในปีอธิกสุรทิน) + 219 (จำนวนเศษวันจากตาราง 2) = 4602.
1. ล.ท. ที่ 90° ตะวันออก = 12 (เที่ยง) ที่ 76 ตะวันออกดังนั้นผลรวมกาลกฤต = 4602 + 12 ชั่วโมง = 4602.5 วัน.
สำหรับ 4000 วัน 342°.4106
,, 600 วัน 231.3616
,, 2 วัน 1.9712
,, .5 วัน 0.4928
เกณฑ์มัธยสผุด 257.4568
833.6930
ดังนั้นมัธยสผุดเมื่อวันและเวลาประสงค์ = 833°.6930 = 113°.6930
สูตร 5
มัธยอังคารโคจร (เฉลี่ยรายวัน)
เกณฑ์มัธยสผุดอังคาร ณ สมมุติยุค 270°.22
หน่วย ร้อย พัน หมื่น
1. 0°.524 52°.40 164°.02 200°.17
2. 1.047 104.70 327.04 40.39
3. 1.572 157.21 132.06 240.58
4. 2.096 209.61 296.07 80.78
5. 2.620 262.01 100.10 280.97
6. 3.144 314.41 264.12 121.16
7. 3.668 6.81 68.14 321.36
8. 4.192 59.22 232.55 161.55
9. 4.716 111.62 36.17 1.74
ตัวอย่าง : หามัธยสผุดของอังคาร วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ 2455 เวลา 1 ล.ท. ที่ 91° ตะวันออก.
ผลรวมกาลกฤต = 4602.5 วัน
สำหรับ 4000 วัน มัธยโคจร 332°.29
,, 600 ,, ,, 49.86
,, 2 ,, ,, 1.66
,, .5 ,, ,, 0.04
เกณฑ์มัธยสผุด 220.04
630.89
เกณฑ์ชำระ 3.33 + .0067 ป 3.41 -
600.48
ดังนั้นมัธยสผุดของพฤหัสบดี 240°.48
สำหรับ 4000 วัน มัธยโคจร 296.080
,, 600 ,, ,, 314.410
,, 2 ,, ,, 1.048
,, .5 ,, ,, 0.262
เกณฑ์มัธยมสผุด 270.220
ดังนั้นมัธยผุสดของอังคาร 162.020
สูตร 6
มัธยพฤหัสบดีโคจร (เฉลี่ยรายวัน)
เกณฑ์มัธยสผุดอังคาร ณ สมมุติยุค 220.04
หน่วย สิบ ร้อย พัน หมื่น
1. .08 0°.83 8°.31 83°.1 110°.96
2. .17 1.66 16.62 166.19 221.96
3. .25 2.49 24.93 249.29 332.89
หน่วย สิบ ร้อย พัน หมื่น
4. .33 3.32 33.24 332.39 83.85
5. .41 4.15 41.55 55.48 194.82
6. .50 4.99 49.86 138.58 305.78
7. .58 5.82 58.17 221.67 56.74
8. .66 6.65 66.58 304.77 167.71
9. .75 7.48 74.79 74.87 278.67
ตัวอย่าง : หามัธยสผุดของพฤหัสบดี เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2455 เวลา 1 ล.ท. ตะวันออก 91.
ผลรวมกาลกฤต 4602.5 วัน.
สูตร 7
มัธยเสาร์โคจร (เฉลี่ยรายวัน)
เกณฑ์มัธยสผุดอังคาร ณ สมมุติยุค 236°.74
หน่วย สิบ ร้อย พัน หมื่น
1. .03 .33 3°.34 33°.44 334°.39
2. .07 .67 6.69 66.88 308.79
3. .10 1.00 10.53 100.32 273.18
4. .13 1.34 13.38 133.76 257.57
5. .17 1.67 16.72 167.20 231.97
6. .20 2.07 20.06 200.64 206.36
7. .23 2.34 22.43 234.08 180.75
8. .27 2.68 26.75 267.51 155.14
9. .30 3.01 30.10 300.95 129.54
ตัวอย่าง : หามัธยมสผุดของเสาร์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2455 เวลา 1 ล.ท. (91° ตะวันออก)
ผลรวมกาลกฤต = 4602.5 วัน.
สำหรับ 4000 วัน มัธยโคจร 133°.76
,, 600 ,, ,, 20.60
,, 2 ,, ,, 0.07
,, .5 ,, ,, 0.01
เกณฑ์มัธยสผุด 236.74
เกณฑ์ชำระ 5 + ( .001 ป ) 5.01
396.56
ดังนั้นมัธยสผุดของพฤหัสบดี 53°.56
สูตร 8
ศีฆรอุจจ์ของพุธ
ศีฆรอุจจ์ของพุธณสมมุติยุคได้ 164° มัธสผุดเท่ากับของอาทิตย์จุดห่างที่สุดจากอาทิตย์เท่ากับ 220.5
หน่วย สิบ ร้อย พัน หมื่น
1. 4.03 40°.33 49°.23 132°.32 243°.18
2. 8.18 71.84 98.46 264.64 126.36
3. 12.28 122.77 147.69 36.95 9.54
4. 16.37 163.69 196.93 169.27 252.72
5. 20.46 204.62 246.16 301.59 135.90
6. 24.55 245.54 295.39 73.91 19.07
7. 28.65 286.46 344.62 206.34 262.26
8. 32.74 327.38 33.85 338.56 145.44
9. 36.83 8.31 83.09 110.86 27.63
สูตร 9
ศีฆรอุจจ์ของศุกร์
ในการคำนวณสผุดของศุกร์ใช้สมมุติยุค วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2443 (เวลาอัตรา) มัธยสผุดของศุกร์เท่ากับของอาทิตย์ ศีฆรอุจจ์ ณ สมมุติยุคได้ 164°.41 จุดห่างที่สุดจากอาทิตย์ได้ 79°.9
หน่วย สิบ ร้อย พัน หมื่น
1. 1.60 16.02 160.21 162.15 181.46
2. 3.20 32.04 320.43 324.20 2.92
3. 4.81 48.06 120.64 120.64 184.39
4. 6.41 64.29 280.86 278.59 5.86
5. 7.01 70.11 71.07 90.73 182.32
6. 9.61 96.13 241.29 252.88 8.87
7. 11.21 112.15 41.50 55.02 190.25
8. 12.72 128.17 201.72 217.17 11.71
9. 14.42 144.19 1.93 19.32 193.18